top of page
White%20Stairs_edited.jpg
images_edited.jpg

JOHANN SEBASTIAN BACH

Johann Sebastian Bach เป็นคีตกวีและนักออร์แกนชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) ในครอบครัวนักดนตรี ที่เมืองไอเซนนาค บาคแต่งเพลงไว้มากมายโดยดั้งเดิมเป็นเพลงสำหรับใช้ในโบสถ์ เช่น "แพชชั่น" บาคเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2293 ที่เมืองไลพ์ซิก บาคเป็นนักประพันธ์ดนตรีสมัยบาโรค เขาสร้างดนตรีของเขาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของยุคสมัย บาคมีอิทธิพลอย่างสูงและยืนยาวต่อการพัฒนาดนตรีตะวันตก แม้แต่นักประพันธ์เพลงผู้ยิ่งใหญ่เช่น โมซาร์ท และ เบโธเฟน ยังยอมรับบาคในฐานะปรมาจารย์

 

เป็นบุคคลมีความ Minimal บุคคลนึงเลยก็ว่าได้ บทเพลงบางบทของเขานั้นใช้องค์ประกอบเเค่นิดเดียว เช่นการใช้ Arpeggio ทั้งเพลงก็สามารถสร้างบทเพลงได้ ผ่านการทำซ้ำของ Motive และเราจะเห็นการพัฒนา Motive

ที่น่าสนใจมากในส่วนของ Fugue ที่เป็นเองลักษณ์ในการใช้ Nonchord tone ดัดแปลงการนำเสนอ Motive

ใน Fugue เช่นการ พลิกกลับ เปลี่ยนคีย์ สลับมือเล่น เปลี่ยนทำนองหลักไป Alto และ Tenor

Screen Shot 2563-12-11 at 13.19.47.png
Screen%20Shot%202563-12-16%20at%2017.12_

MINIMAL OF BACH

แค่เรามองโน็ตตัวอย่างนี้ด้วยตาเปล่าเราก็สามารถบอกได้เลย ว่ามันเป็นการประพันธ์ที่เรียบง่ายมาก เราเห็นกลุ่มของโน็ต3ตัวที่ถูกนำมาจัดวางแบบเดียวกันติดๆกัน เเค่เปลี่ยนตำแหน่งของเสียงแค่นั้น Bach ใช้ Motive ที่สั้นๆและElementsที่เล็กน้อยเท่านั้น แต่สามารถสร้างสรรคเพลงนี้ขึ้นมาได้ โดยใช้ Harmony ของคอร์ดเเละประสานเสียงของมือขวาในการช่วยเพิ่มสร้างสีสรรคให้เพลงนี้
ถึงแม้ว่าในยุคนั้นอาจจะยังไม่มี Minimalism ที่ชัดเจน แต่เราก็จะสังเกตเห็นถึงความเรียบง่ายในเเต่ละยุคสมัยของดนตรี 

ในรูปด้านล่างที่เป็นส่วนของ Fugue ก็มีเเนวคิด Motive เช่นเดียวกันกับด้านบน Prelude ในด้านของ Fugue มีเสียงที่ฟังซับซ้อนมากกว่า Prelude 

Polyphony หัวใจหลักของการประพันธ์เพลงของ Bach ที่ทำให้เพลงฟังซับซ้อน แต่แฝงไปด้วย Motive หลัก ทำให้บางครั้งที่เพลงฟังยากเพราะความ Polyphony ทำให้บางช่วงของเพลงเป็น Dissonance และ บางช่วงของเพลงเป็น Consonance เพลงมีความหลากหลายเเละน่าฟังมากขึ้น

©2020 by Minimal. Proudly created with Wix.com

White%20Stairs_edited.jpg

MINIMAL ELEMENTS IN MUSIC

Screen%20Shot%202563-12-01%20at%2014.15_

Motive คืออะไร

จริงๆเเล้วมันเป็นส่วนที่สำคัญมากในการประพันธ์เพลงๆนึง แต่ไม่ใช่ว่าทุกเพลงบนโลกจำเป็นต้องมี Motive Motive คือวัตถุดิบสั้นๆสำคัญของเพลง ไม่ว่าจะเป็นจังหวะหรือทำนองก็ตาม ที่มีการนำไปทำซ้ำ พัฒนาต่อ หรือใช้การยืดหดต่างๆ เพื่อให้ผู้คนที่ฟังสามารถเข้าใจได้ง่ายว่าเพลงนี้จุดเด่นคืออะไร

เช่นดั่งภาพเราจะเห็นชุดของจังหวะที่ถูกนำมาใช้เรื่อยๆ เเต่เปลี่ยนแปลงเเละพัฒนาโน๊ตเเละคอร์ด

Screen%20Shot%202563-12-01%20at%2015.04_

Ostinato การทำซ้ำ ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของจังหวะหรือทำนองก็ตามที ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญมาหของดนตรีแบบ Minimalism เราจะพบเห็นได้บ่อยครั้ง มันอาจจะไม่คล้ายกับMotive เนื่องจากMotive เป็นการนำทำนองหรือช่วงของจังหวะมาพัฒนาต่อในรูปแบบต่างๆ แต่Ostinatoคือการซ้ำโดยไม่เปลี่ยนรูปแบบ

vibration-beats-1300x650_edited_edited.j

Timbre เป็นเรื่องเรามักพบบ่อยในทุกวันนี้  มันคือการเลียนแบบของเสียงที่เหมือนกัน เล่นเราเล่นโน็ตตัว C ในเปียโน แล้วเราเปลี่ยนไปเล่นโน็ตตัว C ที่เป็น Octave เดียวกัน เเต่เปลี่ยนเครื่องดนตรี ความถี่นั้นเท่ากัน แต่ทำไมเสียงถึงไม่เหมือนกัน ...
เป็นเรื่องที่น่าสนใจมากTimbre ทำให้เเนวทางดนตรีในยัคปัจจุบันมีให้เลือกหลากหลายและไม่รู้จบ

92298370b59c3d38b63ec537edd24711_edited.

 Harmony ถือว่าเป็นที่คุ้นเคยกันอยู่เเล้วกับคำๆนี้ มันคือเสียงประสานความกลมกลื่นกันของความที่ทับซ้อนกัน เสียงประสานที่เราสามารถเห็นภาพได้ง่ายมากที่สุดนั้นคงจะเป็นในเรื่อง Chord progression มันเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการสร้างสรรคเพลง Chord progression ที่เรามักพบบ่อยมากที่สุดคือ I IV และ V มันเป็นที่ยอมรับในทั่วโลกเเละมีการพิสูจน์ทางทฤษฎีมาหลายแห่ง จนเราคิดว่ามันเป็นเรื่องที่ธรรมดามากเเละช่างเรียบง่ายเมื่อเราเจอเพลงที่มี Chord progression เช่นนี้ แต่ที่น่าสนใจคือ เมื่อเราเจอเพลงที่เรียบง่ายเช่นนี้ พวกเขาที่เป็นนักประพันธ์ พวกเขามีหลักการยังไงที่ทำเพลงที่มีความเรียบง่ายเช่นนี้ให้ออกมาไพรเราะ

best-drone-music-2_edited.jpg

          Drone เป็นหลักการที่เรียบง่าย ในการสร้างเสียงที่มีลักษณะยืดยาวต่อเนื่อง ไม่ว่าจะประสานเป็น Harmonic หรือ Monophony ซึ่งการลากยาวของเสียงนี้ จึงนิยมในหมู่ดนตรี เครื่องเป่า เครื่องสี ที่สามารถกำเนิดเสียงได้ยาวและต่อเนื่องกัน และที่สำคัญยังนิยมในหมู่เครื่องดนตรีสังเคราะห์เช่น Analog Synthesizer

    

 

All elements
00:00 / 03:17
bottom of page